มาถึงตอนนี้หลายคนคงรู้จักเทคโนโลยี Motion Capture กันมาบ้างแล้ว เพราะหลายๆ สตูดิโอในบ้านเรานั้นหันมาใช้งานเทคโนโลยีชนิดนี้กันมายิ่งขึ้น เหตุผลก็เพราะว่า ด้วยต้นทุนที่มีราคาต่ำลง และมีเทคนิกการทำงานที่ไม่สับซ้อนมากนัก จนทำให้ประหยัดเวลาในการผลิตลงไปได้พอสมควร แต่รู้หรือไม่ว่านอกจากเทคโนโลยี Motion Capture ที่เข้ามาช่วยในการทำงานแล้วนั้น อีกสิ่งหนึ่งที่มีความสำคัญไม่แพ้กันก็คือนักแสดงที่สวมบทบาทผ่าน Motion Capture เพราะจะมีความยากมากกว่าการแสดงปกติเป้นอย่างมา เพราะการแสดงปกตินั้น สิ่งแวดล้อม ชุดเครื่องแต่งการ และองค์ประกอบจะเป็นตัวช่วยในการแสดงนั้น สามารถเข้าถึงอารมณ์ได้เป็นอย่างดี แต่สำหรับการแสดงผ่าน Motion
Category: Mocap
กิจกกรม “ทำความรู้จัก Motion Capture สู่ตัวตน Digital” ผ่านชุด Motion Suit
พาเด็กๆมา Workshops ในหัวข้อ “Motion Capture” หรือ”การตรวจจับความเคลื่อนไหว” ที่นิยมใช้ในวงการภาพยนตร์ เกม และAnimation เริ่มตั้งแต่การ Animate ทำการเคลื่อนไหวเบื้องต้นสู่เครื่องมือนำความสภาพแวดล้อมจริงเข้าสู่ระบบ Digital และมาพบกับรายการตัวเต็มได้เร็วๆนี้ค่ะ
Rokoko Sensor Fusion 2.0 อัพเดทเฟิร์มแวร์ใหม่ แม่นยำขึ้น คลาดเคลื่อนน้อยลง
Rokoko Smartsuit Pro2 ยกระดับไปอีกขั้น ด้วยการอัพเดทเฟิร์มแวร์ใหม่ ที่สามารถรักษาเสถียรภาพแม่เหล็กให้ดีขึ้น มีการแม่นยำที่มากยิ่งขึ้น ซึ่งเฟิร์มแวร์ที่ออกมาใหม่นี้มีชื่อว่า Sensor Fusion 2.0 ที่สามารถอัพเดทได้กับผู้ใช้งาน Rokoko Smartsuit Pro2 ทุกราย ซึ่งจะมีขั้นตอนการอัพเดทอเป็นอย่างไร เราไปติดตามจากวีดีโอด้านล่างนี้ได้เลยครับ 👇 ซึ่งเฟิร์มแวร์ตัวใหม่นี้ได้เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้สูงขึ้นถึง 24% โดยหลักการทำงานที่สร้างเสถียรภาพการทำงานของแม่เหล็กให้ดีขึ้น 💪 ซึ่งสามารถใช้ได้ทั้งการสิ่ง การเดิน
Motion & Face Capture นวัตกรรมสำหรับภาพยนต์ของอนาคต
สำหรับในหัวข้อนี้ขออินกับกระแสของภาพยนต์ อีกหนึ่งเรื่องที่กำลังเข้าฉายอยู่ในปัจจุบันกันนึดนึงนะครับ เพราะว่าถือเป็นการพลิกอีกหน้าของวงกาภาพยนต์ไทยกันเลยทีเดียว ซึ่งภาพยนต์เรื่องนั้นก็คือ You&Me&Me หรือ เธอกับฉันกับฉัน ที่ได้นักแสดงวัยรุ่น ที่มีความน่ารักสดใสอย่างน้องใบปอ สาวน้อยวัยเพียง 17 ปี มาเป็นนักแสดงนำในเรื่อง ซึ่งบทบาทในเรื่องนั้น น้องใบปอต้องแสดงเป็นบทฝาแฝดนั้นก็คือ ยู และ มี โดยหากปกติแล้วการถ่ายทำจะเป็นการถ่ายทีละเฟรมแล้วนำมาตัดต่อเข้าหากัน หรือในละครที่มักจะทำก็คือการถ่ายผ่านไหล่ของนักแสดงอีกคนเพื่อให้ดูเหมือนว่ามีฝาแฝดอยู่จริงๆ แต่สำหรับในภาพยนต์เรื่องนี้นั้นได้มีการใช้เทคนิกพิเศษเข้ามาช่วยในการผลิต ทำให้ภาพที่ออกมานั้นมีความสมจริง และเป็นธรรมชาติอย่างไร้ที่ติ จนเหมือนว่าน้องใบปอนั้น มีฝาแฝดที่คลานตามกันออกมาจริง
Motion Capture ตัวช่วยประหยัดเวลาที่ Creator เลือกใช้!
Motion Capture (หรือที่หลายๆ คนเรียกว่า MOcap) เป็นกระบวนการการติดตามการเคลื่อนไหวของร่างกายมนุษย์ ซึ่งเป็นการแปลงข้อมูลการเคลื่อนไหว จากนั้นเป็นการเชื่อมต่อกับร่างกายของตัวละครผ่านคอมพิวเตอร์กราฟฟิก ซึ่งเป็นการจับกาเคลื่อนไหวของนักแสดงในขณะนั้น ให้สามารถเคลื่อนไหวได้อย่างสมจริง ทั้งนี้ยังรวมไปถึงการเคลื่อนไหวของนิ้ว ใบหน้า การแสดงอารมณ์ต่างๆ ด้วย โดยจะประกอบไปด้วย 2 หัวข้อหลักๆ คือ 1. Optical Mocap : โดยเป็นการใช้อุปกรณ์กล้องชนิดพิเศษ และมีการติดเครื่องหมายบนร่างกายนักแสดงอาจจะเป็นสิ่งที่สามารถสะท้อนแสงได้ หรือที่ผ่านมาจะเป็นดวงไฟที่กล้องสามารถตรวจจับได้
Motion capture : ความเสมือนจริงที่มาจากของจริงในวงการภาพยนตร์
Motion capture (mo-cap) มีความหมายว่า “การจับความเคลื่อนไหว” เป็นเทคโนโลยีที่นำมาใช้ในวงการเกม การ์ตูน3มิติ Animation หนังภาพยนตร์ โดยให้นักแสดงใส่ชุด Motion Suit ในชุดจะประกอบด้วยเซ็นเซอร์ตามจุดต่างๆ เพื่ออ่านและแปลงค่าท่าทางสู่โปรแกรมบนคอมพิวเตอร์ ทำให้ตัวละคนมีท่าทางดูละมุนสมจริงมากกว่าการ Animate (จัดท่าทาง) เอง สามารถทำได้หลากหลายอริยบททั้งร่างกายและใบหน้า ที่มาของ Mocap เริ่มต้นตั้งแต่ปี 1878 กับผลงานของ Eadweard
Rokoko ลงทุน 80ล้านเหรียญสหรัฐฯ พัฒนาตลาดเอเชีย
เนื่องด้วยบริษัท Never Z ในเกาหลีใต้ที่เป็นยเหมือนผู้อยู่เบื้องหลังของแอพพลิเคชั่น Zepeto ที่เป็นที่นิยมในด้าน 3D-avata อยู่ในขณะนี้ ได้ออกมาประกาศถึงกลยุทธ์ที่ได้จับมือกับบริษัทอุปกรณ์ Motion Capture ที่ใช้ในการผลิตภาพยนต์ อนเมชั่น จากประเทศเดนมาร์ก ที่มีผู้ใช้งานกว่า 50,000 รายทั่วโลก ซึ่งในจำนวนนี้ยังรวมไปถึงบริษัทผู้ผลิตโปรดักชั่นชั้นนำของโลกด้วย และยังมีผู้ที่เริ่มต้นทำงานในวงการนี้ที่ปกติแล้วอาจจะเข้าไม่ถึงอุปกรณ์นี้ด้วยเช่นกัน Rokoko Smartsuit และ Rokoko Smartglove เป็นอุปกณณ์ที่ถูกพัฒนาขึ้นมาด้วยนวัตกรรมชั้นสูง
เทคนิค Mocap ในเรื่อง Avatar ที่ไม่ใช่แค่ภาพยนต์แต่เป็นการสร้าง “ประสบการณ์”
ในปี 2009 ภาพยนตร์ Avatar ได้รับฉายาว่า “ยกระดับการเคลื่อนไหว ให้เป็นการแสดง ” ที่ผู้กำกับ James Cameron ได้ให้ชื่อเทคนิคนี้ว่า“Performance Capture” ในยุคนั้นถือว่าเป็นการพัฒนาสูงสุดของภาพยนตร์ 3มิติ การันตีด้วยออสการ์ในสาขาวิช่วลเอฟเฟ็กต์ ของจริงมีให้เห็นสมัยนั้นบอกเลยว่าภาพสวยตาแตกขนาดที่สร้างตัวละครสมจริงระดับ Photorealistic 3D พร้อมกับสร้างโลกในฉากหลังที่มีความสมจริงระดับเดียวกันขึ้นมาทั้งหมด ตลอดจนพัฒนาทั้งซอฟท์แวร์และอุปกรณ์ใหม่ๆ เพื่อการถ่ายทำ Performance Capture ที่มีขอบเขตใหญ่โตและละเอียดซับซ้อนยิ่งขึ้น